ซัลเฟอร์
ซัลเฟอร์หรือกำมะถัน ที่มาสามารถพบได้จากแหล่งธรรมชาติที่ดีที่สุด เช่น เนื้อไม่ติดมัน ไข่ ปลา ถั่วแห้ง กระเทียม คะน้า กะหล่ำปลี กะหล่ำดาว เป็นต้น แร่ธาตุซัลเฟอร์ยังไม่มีขนาดที่แนะนำให้รับประทานในแต่ละวัน แต่หากรับประทานโปรตีนเพียงพออยู่แล้วก็จะได้รับซัลเฟอร์ในปริมาณที่เพียงพอตามไปด้วย ทดลองเล่นสลอต เอ็มเอสเอ็ม (MSM : Methylsulfonylmethane) เป็นซัลเฟอร์แบบอินทรีย์ โดยมีวางจำหน่ายเป็นเม็ดในขนาดปริมาณ 1,000 มิลลิกรัมร่วมกับวิตามินซีคอมเพล็กซ์ โดยซัลเฟอร์แบบอินทรีย์ (MSM) จะไม่ก่อให้เกิดอาการแพ้ และยังไม่พบอาการเป็นพิษหรืออันตรายใด ๆ หากได้รับธาตุซัลเฟอร์แบบอินทรีย์ในปริมาณมากเกินไป แต่ก็อาจมีอาการไม่พึงประสงค์ที่อาจจะเกิดขึ้นได้หากรับประทานซัลเฟอร์แบบอนินทรีย์ในปริมาณมาก ทดลองเล่นสล๊อต ประโยชน์ของซัลเฟอร์ใช้ประโยชน์กำมะถันในอุตสาหกรรมได้หลายอย่าง ผ่านทางอนุพันธ์ของตัวมันคือ กรดซัลฟิวริก (H2SO4) กำมะถันถูกจัดให้เป็นหนึ่งในธาตุที่มีความสำคัญในการเป็นวัตถุดิบอุตสาหกรรมมาก อาจจะกล่าวได้ว่ากำมะถันมีความสำคัญมากต่อเศรษฐกิจโลกอย่างมากการผลิตกรดซัลฟิวริก ถือว่าเป็นการใช้ประโยชน์ปลายทางหลักของธาตุกำมะถัน และการบริโภคกรดซัลฟิวริก ถือเป็นตัวชี้วัดที่ดีในการพัฒนาอุตสาหกรรมของชาติ ในสหรัฐอเมริกามีการผลิตกรดซัลฟูริกมากกว่าสารเคมีอื่น ประโยชน์ของมันพอสรุปได้ดังนี้ใช้ในอุตสาหกรรมผลิต แบตเตอรีผงซักฟอกวัลแคไนเซชัน (vulcanization) ยางยาฆ่าเชื้อราใช้ผลิตฟอสเฟต ในอุตสาหกรรมทำปุ๋ยซัลไฟต์ ใช้ในการฟอกสีกระดาษเป็นสารถนอมอาหารในการผลิตไวน์ใช้ในการอบแห้งผลไม้เป็นส่วนผสมของไม้ขีดไฟ ดินปืน และ ดอกไม้ไฟเป็นสารเคมีในงานถ่ายรูปในรูปของเกลือโซเดียมหรือแอมโมเนียม…continue reading →